In the spiritual realm the Buddha reigns over Southeast Asia. Of Indian origin, he has been assimilated to Thai tradition, with here the addition of a Khmer niche, which may allude to Sakyamuni’s historical visit to Cambodia. The Buddha sits in the posture of enlightenment through meditation. The opulent details qualify his asceticism with an expression of material prosperity, aesthetic elegance and social respectability.
พระพุทธเจ้านั่งสมาธิอยู่ในซุ้มซึ่งเป็นศิลปะแบบขอม ให้ความรู้สึกถึงความสงบภายในใจและมีบารมีอันแผ่ไพศาล สมาธิเป็นบ่อเกิดแห่งปัญญา ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า สมาธิจะเสริมกำลังปัญญาของเราให้ปราดเปรื่อง ทำให้จิตของเราตั้งมั่น หรือมั่นคงต่อการทำธุรกิจต่างๆ ทำให้เรามีจิตที่สงบเยือกเย็น และมีเมตตาปรานีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน จะมีความเคารพบูชา รักในบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ดีขึ้น จะทำให้เราหมั่นขยันในการงาน ทำให้ความจำดีมีสติปัญญา เฉลียวฉลาดรอบรู้ คิดการงานใดจะไม่ท้อถอย โดยเฉพาะ สมาธิจะเสริมกำลังปัญญาของเราให้ปราดเปรื่อง
Against repose is balanced heroic action. The scene set among clouds unfolds beneath the moon, signifying perhaps the distant presence of the god Vishnu, of whom Rama no less than the Buddha is an avatar. Ramakian (the Thai version of the Indian epic Ramayana) calls him son of Narayana, sent to earth by Shiva as a moral scourge. Exotically dressed, Rama grasps Ravana’s lance to disarm him, in an allegorical victory of Good over Evil.
สงครามระหว่างพระรามกับทศกัณฐ์ซึ่งเป็นพญายักษ์ครองกรุงลงกา เกิดจากทศกัณฐ์ไปลักพานางสีดามเหสีของพระรามมา เพื่อเป็นชายาของตนเอง พระรามและพระอนุชาคือพระลักษณ์จึงได้ออกติดตาม จนกระทั่งได้สองพญาวานรคือพญาสุครีพเจ้าเมืองขีดขิน และท้าวมหาชมพูเจ้าเมืองชมพูมาเป็นบริวาร โดยมีหนุมานเป็นทหารเอก กองทัพของพระรามจึงจองถนนข้ามทะเลไปสร้างพลับพลา และตั้งค่ายประชิดกรุงลงกาเพื่อทำศึกกับทศกัณฐ์ จนกระทั่งฝ่ายพระรามได้รับชัยชนะ
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสงครามพระรามกับทศกัณฑ์
The serenity of Thai civilization owes much to its practice of respect, conveyed through the gesture of the wai, with which Thais greet one another and take their leave. The artist has represented this charming young noblewoman in the guise of a Balinese princess, a fashionable nod to Indonesian civilization. Her present refinement may signal that her goodness in a past life has been rewarded by a beautiful reincarnation.
การไหว้ในวัฒนธรรมไทยเป็นการแสดงออกถึงความเคารพ ความอ่อนน้อม และการยินดีต้องรับ รูปปั้นแสดงให้เห็นถึงความงามอย่างอิสตรีและความอ่อนช้อยในการไหว้ เครื่องประดับต่างๆ แสดงถึงความสูงศักดิ์ และนั่นสะท้อนให้เห็นถึงการต้อนรับอย่างมีเกียรติ เครื่องแต่งกายแบบบาหลี ทำให้เห็นรูปร่างและแสดงความงดงามของเรือนร่างได้มากขึ้น
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการไหว้
From India the Khmers and Thais also inherit a tradition of divine sensuality (an index of high culture), exemplified by this exotic apsaras, here shown magically traveling through the air. Her lavish accouterments include the chada (a headdress typically Thai). She may bear an elixir of immortality extracted from deep within the sea. As in contemporary Indian dance the continuation of ancient sensuous traditions signals a cultural vitality.
นางฟ้าในลีลาอ่อนช้อยขณะกำลังถือผอบระหว่างการเดินทาง แสดงความอ่อนช้อยของศิลปะแบบไทยและความปราณีตของศิลปินผู้ทำผลงานชิ้นนี้ขึ้นมา เครื่องประดับและเครื่องแต่งกายสวยงามแบบโบราณเป็นแบบไทยแท้ซึ่งหาดูได้ยากในปัจจุบัน
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับจิตกรรมไทย
A noble woman, neither divine nor explicitly heroic, but like Sita also conveyed by a fabulous bird, pauses in a flowery arbor, a jungle retreat, to allow her fantastic, gentle vehicle, known as the hongsa, to drink from a fountain and be comforted. Man and nature are in harmony according to the artist’s vision, whose iconography may allude to the Indic Garuda, his aesthetics, to the clouds, cliffs and lakes of Chinese landscape painting.
เป็นภาพของหงษ์ในรูปลักษณ์ตามแบบวรรณคดีกับหญิงสาวซึ่งกำลังพักผ่อนระหว่างการเดินทางในป่า หงษ์เป็นนกชนิดหนึ่งที่มีอยู่จริง มีรูปร่างคล้ายห่าน แต่รูปลักษณะในด้านศิลปกรรมถูกนำมาตกแต่งจนเปลียนไปจากเดิม หงส์ไทยงดงามไม่ด้อยกว่าชาติอื่นๆ ตามวรรณคดีต่างๆ จะพบว่าหงส์อาศัยอยู่ที่สระมานะสะ ทางทิศใต้ของเขาไกรลาศ มีเสียงร้องที่ไพเราะ กวีนิยมนำไปเปรียบเทียบกับหญิงงาม หากเราไปตามวัดจะพบว่ามีเสาหงส์หรือเสาธงซึ่งจะมีการสลักรูปหงส์ ประดับตามเชิงเสาธงหรือ ยอดเสาธงอยู่หลายวัด คงเห็นว่ามีความสวยงามและเหมาะสมมากที่สุดนั่นเอง
Although their Indian dress and posture tell us that the amorous couple is not Thai, their faces say otherwise. Have we here a nobleman and his spouse, a king and his queen, or Shiva, the creator/destroyer of the Universe, and his consort, Uma? The shape of the couple’s ears suggests divine intelligence, the relative size of man and wife, an Asian view of hierarchy in marriage, now politically incorrect.
รุปปั้นของหญิงชายคู่หนึ่งที่มีลักษณ์เครื่องแต่งกายอันแสดงถึงความสูงศักดิ์ ลักษณะท่าทางบ่งบอกว่าเป็นคนรักกัน แสดงให้เห็นถึงความรักความเสน่หาระหว่างชายหญิง เครื่องแต่งกายแบบชนชั้นสูงทำให้เกิดความน่าสนใจและมีรายละเอียดที่วิจิตรมากขึ้น
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานประติมากรรม
This small relief is modeled on a much larger piece in Lopburi that represents King Narai as an avatar of Rama, asleep on a Khmer dragon with elephant’s trunk. His wife comforts him. Lotuses, which emanate from the king, fill the central scene; atop one sits paprom the four-faced Hindu divinity. The bird grasping an elephant by the leg (in the upper left) is larger than the largest beast, as accords with Narai’s vision of a world transformed.
ภาพนารายณ์บรรทมสินธุ์ ภาพนี้พระนารายณ์ (หรือพระวิษณุ) บรรทมอยู่เหนือพญานาคกลางเกษียรสมุทร (ทะเลน้ำนม) มีดอกบัวผุดขึ้นจากพระนาภี (สะดือ) และมีพระพรหมประทับเหนือดอกบัว ความหมายก็คือการสร้างโลก คือในขณะที่พระนารายณ์หลับอยู่ก็ได้ฝันถึงการสร้างสิ่งต่าง ๆ และดอกบัวผุดที่ขึ้นจากสะดือ ก็ให้กำเนิดพระพรหม ซึ่งจะเป็นผู้สร้างมนุษย์ และสิ่งต่าง ๆ ต่อไปอีก
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับทับหลังนารายณ์บรรทมศิลป์
She is divine, and her regal headdress tells us that she is also Khmer. Her posture — seated on her haunches — indicates respect, perhaps attendance upon a king. For someone at least she bears an amphora of water (the vine in her hand is the means whereby she had lowered it and filled it in a pond). She is a maiden, as expensively garbed and bejeweled as a Cambodian princess. Nonetheless she is natively Thai.
รูปปั้นหญิงสาวกับคนโทแบบศิลปะขอม ไม่ทราบแน่ชัดงว่ามีต้นกำเนิดมาจากวรรณคดีเรื่องใด หรือเป็นศิลปะสมัยใด เท่าที่ทราบคือเป็นศิลปะขอม ซึ่งศิลปะขอมมีหลายยุคสมัย แต่ละยุคสมัยมีลักษณะที่แตกต่างกันแต่มีเรื่องราวที่สอดคล้องเป็นเอกลักษณ์
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับศิลปะขอม
The battle of elephants (for Thais, symbols of royalty) represents an actual scene of conflict between Thailand and Burma (both modern names). The Thai King Naresuan (on the right) cuts off the head of the Burmese king, Upparacha (on the left). The Thais were not always so fortunate, for in 1767 this traditional enemy razed Ayuttya, the ancient capital, which then gave rise to its rebuilding at Thonburi, near modern Bangkok.
พระนเรศวรกับพระมหาอุปราชาก็เข้าชนช้างชิงชัย แล้วสู้รับฟันแทงกันด้วยพระแสงของ้าวตามกระบวนเพลงขอ ก็รำรอรับกันประจันสู้กันไปตามเพลงส่วนช้างพระนเรศวรนั้นเล็ก ก็ถอยพลางทางสู้ชน ครั้นถอยไปอุปราชาจึงฟันพระนเรศวรด้วยพระแสงของ้าว พระนเรศวรจึงหลบ ก็ถูกพระมาลาบี้ไปประมาณได้สี่นิ้ว ครั้งช้างพระนเรศร์ถอยไปจึงได้ที ประจันหนึ่งเรียกว่าหนองขายันและพุทรากระแทก ก็ยังมีที่ที่อันนั้นจนทุกวันนี้ ช้างพระนเรศวรนั้นยันต้นพุทรานั้นเข้าได้แล้ว จึงชนกระแทกขึ้นไป ก็ค้ำคางช้างพระมหาอุปราชาเข้า ฝ่ายช้างอุปราชาเบือนหน้าไป พระนเรศวรได้ทีก็ฟันด้วยพระแสงของ้าว ชื่อเจ้าพระยาแสนพลพ่าย ก็ถูกอุปราชาพระเศียรก็ขาดออกไปกับที่บนคอช้าง
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสงครามยุทธหัตถี
This diminutive monarch or little nobleman may be deceiving us as to his true identity. He could be Rama in disguise, a figure from the spiritualized Ramayana. At any rate, he is making the gesture known in Thai as phanom mue (raising the hands in the shape of a lotus to chest level), which, unlike the wai, expresses solitary prayer to divinity. Despite his Indian ornament and high stylization, the original is probably of Thai provenance.
การไหว้นอกจากจะเป็นการแสดงความยินดีต้อนรับแล้ว ยังใช้ในการสวดมนต์ภาวนาเพื่อระลึกถึงพระพุทธเจ้าและผู้ที่เคารพบูชาทั้งปวง การนั่งขัดสมาส ถือเป็นท่านั่งที่นิยมใช้ในการทำสมาธิ และการไหว้ก็นิยมใช้ในการภาวนา
รูปปั้นนี้ หากสังเกตจากลักษณะการแต่งกาย จะเห็นว่าเป็นลักษณะของผู้สูงศักดิ์ที่กำลังบำเพ็ญภาวนาด้วยความแน่วแน่และจิตใจสงบ
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการไหว้-ถาวนา
Cultures in which semi-naked dancing is prohibited are not religious in the fullest sense. These amply breasted Khmer apsarases may be celebrating a political event, say the victory of a king, but their evident mirth is also full-bodied. Such a kinetic performance would not have been regarded by traditional Thais as religious. Monotheists, strict Buddhists and other puritans, will agree. Adepts at Angkor would have begged to differ.
อัปสร หรือ นางอัปสร ถือเป็นชาวสวรรค์จำพวกหนึ่ง มีเพศเป็นหญิง อาจเรียกว่า นางฟ้า ก็ได้ แต่ไม่ใช่เทวดา มีฐานะเป็นอมนุษย์ บังเกิดขึ้นเมื่อครั้งกวนเกษียรสมุทร เพื่อเอาน้ำอมฤตขึ้นมา ดังความปรากฏใน มหากาพย์ มหาภารตะ ของอินเดีย
คำว่า "อัปสร" นั้น มาจากคำว่า "อัป" (หมายถึง น้ำ) และ "สร" (หมายถึง การเคลื่อนไป) อัปสร จึงหมายถึง ผู้ที่เคลื่อนไปในน้ำ อันเป็นกำเนิดของนาง ทว่าโดยทั่วไป ถือว่านางเป็นชาวสวรรค์
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับนางอัปสร
The sensuous cultures of the world — in Africa, Asia, Latin America, and elsewhere — are routinely maligned, but we originate with naked breasts suckled more than once. The theatrical gong is not being struck, but the drum is being spanked, and behind a curtain the flute, here a luminous wand, is deliciously contemplated. The ancient impulse of life is revived not with prudery or a vow of chastity but with a sublimated sensuality.
รูปปั้นแสดงความงดงามของสตรีขณะกำลังเล่นดนตรีในวงมโหรี ให้ความรู้สึกถึงความอ่อนช้อย และชวนให้จินตนาการไปถึงความไพเราะของตนดรีแบบไทยๆ เป็นผลงานการจินตนาการของศัลปินสมัยใหม่ ที่ให้ความรู้สึกถึงความอ่อนช้อยของสตรี และท่วงท่าลักษณะของการเล่นดนตรี
— Thai commentary by Tawatchai Ampol